บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
EAED2203 การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรียนวันเวลาเรียน : วัน พุธ ที่ 8 เมษายน 2563
*** เรียน Online ผ่านทางโปรแกรม ZOOM ***
> เนื้อการเรียน <
- เริ่มต้นการสอนด้วยการร้องเพลงเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์เช่น เพลงสวัสดียามเช้า ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั้นล้า หลั้นลา หลั้นหล่า หลั้น ลันลา
หลั้นหล่า หลั้นลา
เพลงนี้สามารถเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ได้ด้วยการลำดับเรื่องของเหตุการณ์ว่าสิ่งใดมาก่อนหรือหลัง และสามารถเรียนรู้เรื่องเวลาได้คือเวลาเช้า เป็นต้น
- การแก้ไขแผนการจัดประสบการณ์หัวข้อไข่ไก่ในแต่ละวันใช่ช่วงของการสอนควรจะครอบคลุมให้เด็กปฐมวัยได้รับการจัดประสบการณ์อย่างทุกด้าน ช่วงของการสอนเป็นช่วงที่สำคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยโดยการแบ่งเกณฑ์อย่างชัดเจนในการแบ่งกลุ่ม เพื่อได้แยกจัดหมวดหมู่สิ่งที่ไม่เหมือนกัน หรือสิ่งที่กำหนดตามผู้สอนกำหนดขึ้นมาและต่อจากนั้นผู้สอนยังสามารถที่จะเชื่อมโยงการสอนทางด้านคณิตศาสตร์ด้วยการให้เด็กปฐมวัยหยิบหรือแบ่งออก 1:1 เพื่อที่จะดูว่าสิ่งใดเหลือมากกว่าหรือมีมากกว่า วิธีนี้จะทำให้เด็กสามารถที่จะเปรียบเทียบได้ว่าสิ่งใดมากหรือน้อยกว่าสิ่งใดดูจากสิ่งที้เหลืออยู่และหมดไป หลังจากนั้นสามารถนำเลขฮินดูอารบิกหรือสัญลักษณ์ของตัวเลข 1 -10 นั้นมาวางกำกับจำนวนไว้เพื่อให้เด็กได้ดูภาพของตัวเลขและเกิดการจดจำจากสัญลักษณ์ก่อนที่จะเข้าใจถึงความหมายขตัวเลข
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั้นล้า หลั้นลา หลั้นหล่า หลั้น ลันลา
หลั้นหล่า หลั้นลา
เพลงนี้สามารถเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ได้ด้วยการลำดับเรื่องของเหตุการณ์ว่าสิ่งใดมาก่อนหรือหลัง และสามารถเรียนรู้เรื่องเวลาได้คือเวลาเช้า เป็นต้น
- การแก้ไขแผนการจัดประสบการณ์หัวข้อไข่ไก่ในแต่ละวันใช่ช่วงของการสอนควรจะครอบคลุมให้เด็กปฐมวัยได้รับการจัดประสบการณ์อย่างทุกด้าน ช่วงของการสอนเป็นช่วงที่สำคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยโดยการแบ่งเกณฑ์อย่างชัดเจนในการแบ่งกลุ่ม เพื่อได้แยกจัดหมวดหมู่สิ่งที่ไม่เหมือนกัน หรือสิ่งที่กำหนดตามผู้สอนกำหนดขึ้นมาและต่อจากนั้นผู้สอนยังสามารถที่จะเชื่อมโยงการสอนทางด้านคณิตศาสตร์ด้วยการให้เด็กปฐมวัยหยิบหรือแบ่งออก 1:1 เพื่อที่จะดูว่าสิ่งใดเหลือมากกว่าหรือมีมากกว่า วิธีนี้จะทำให้เด็กสามารถที่จะเปรียบเทียบได้ว่าสิ่งใดมากหรือน้อยกว่าสิ่งใดดูจากสิ่งที้เหลืออยู่และหมดไป หลังจากนั้นสามารถนำเลขฮินดูอารบิกหรือสัญลักษณ์ของตัวเลข 1 -10 นั้นมาวางกำกับจำนวนไว้เพื่อให้เด็กได้ดูภาพของตัวเลขและเกิดการจดจำจากสัญลักษณ์ก่อนที่จะเข้าใจถึงความหมายขตัวเลข
> คำศัพท์ <
1. Good Morning สวัสดียามเช้า
2. Modify การแก้ไข
3. Daily routind กิจวัตรประจำวัน
4. Set กำหนด
5. Event เหตุการณ์
> ประเมิน <
ตนเอง : ฟังที่อาจารย์สอนด้วยความตั้งใจอาจจะมีละเลยบ้างบ้างครั้ง ไม่ได้ตอบคำถามบ้างบางครั้ง
เพื่อน : น้อยคนที่ให้ความร่วมมือในการตอบคำถามอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ : ผู้สอนๆให้นักศึกษาแก้ไขรายละเอียดของแผนยังไม่ค่อยเข้าใจดีเท่าไหร่
อาจารย์ : ผู้สอนๆให้นักศึกษาแก้ไขรายละเอียดของแผนยังไม่ค่อยเข้าใจดีเท่าไหร่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น